Friday, January 17, 2014

Day11(3.68gm) : ข่าวการเมืองและ複合動詞จากข่าว

ช่วงนี้มาอยู่ที่ญี่ปุ่นแม่ไก่ดูข่าวทีไรก็มีข่าวที่กรุงเทพออกตลอดเลย ซึ่งแม่ไก่ก็เป็นห่วงไม่รู้ว่าสถานการณ์จะเป็นอย่างไรต่อไป แต่รู้สึกว่าเพื่อนๆเริ่มบอกต่อกันมาว่าน่าจะมีการเลื่อนสอบปลายภาค แง่ๆปิดเทอมช้าลงหรอเนี่ย

วันนี้แม่ไก่ขอนำเสนอข่าวไทยในหนังสือพิมพ์ซังเก ฉบับวันที่ 15 มกราคม 57 ซึ่งจะแปลออกมาเป็นภาษาไทยอย่างคราวๆและไม่สละสลวย (ไม่ถนัดการแปลเลย) และนำเสนอ複合動詞ที่พบเจอจากการอ่านข่าวการเมืองนะกะต๊ากกก



อาจมีการเลื่อนการเลือกตั้ง นายกถอนคำพูดจากการไม่ขึ้นเป็นนายก

กรุงเทพในวันที่14ที่ผ่านมา ฝ่ายต่อต้านรัฐบาลยังคงปิดถนนอยู่ และเริ่มมีผู้คนเห็นด้วยกับการเลื่อนการเลือกตั้งที่จะจัดขึ้นในวันที่2กุมภาพันธ์ ที่จะถึงนี้ ทวาฝ่ายต่อต้านกล่าวว่าการเลื่อนการเลือกตั้งไม่อาจบอกได้ว่าการต่อสู้ครั้งนี้จะจบลงหรือไม่  โดยที่ฝ่ายยิ่งลักษณ์ตั้งใจว่าจะดึงอำนาจทางการเมืองกลับมาจากการเลือกตั้งที่จะถึง แต่กลับมีผู้ต่อต้านเพิ่มขึ้นจึงทำให้เริ่มท้อถอยว่าจะไม่สามารถทำตามที่ตนคาดฝันเอาไว้ได้ ในหนังสือพิมพ์เนชั่นมีเขียนว่ายิ่งลักษณ์โทรไปหาประยุทธ์ในวันที่12 ว่าจะไม่ลงสมัครเลือกตั้ง  แต่พี่ชายที่อยู่ต่างประเทศกลับไม่ให้ล้มเลิกความพยายาม จึงทำให้ยิ่งลักษณ์กลับคำพูด ส่วนสุเทพก็พยายามที่จะหึกเหิมต่อต้านยิ่งลักษณ์ต่อไป โดยตอนนี้มีผู้คนร่วมเดินขบวนต่อต้านเป็นจำนวนสามหมื่นคน และในวันที่15จะพยายามเดินขบวนไปทางสนามบินด้วย
หากแปลออกมาไม่สละสลวยหรือผิดพลาดประการใดขออถัยด้วยนะกะต๊ากกกก


ต่อมาเรามาดู複合動詞ที่เจอในข่าวการเมืองกันดีกว่า มีทั้งหมด4คำ กล่าวคือ話し合う、乗り切る、押し掛ける、繰り返す

1.はな・し‐あ・う【話し合う】เป็น複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่4 คือ คำกริยาประสมอื่นๆ
เป็นคำที่ประกอบจาก はな・す【話す】คุย+あう【合う】เข้าหา
ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายดังนี้
การคุยกัน ในเรื่องทั่วๆไป
เช่น「楽しく話し合う」


การคุยเพื่อปรับความเข้าใจกัน การแลกเปลี่ยนความคิด ปรึกษาปัญหากัน  
เช่น「とことんまで話し合って決める」

2.の・り‐き・る【乗り切る】เป็น複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่2 คือ คำกริยาประสมที่แสดงความหมายเสร็จสิ้น  เป็นคำที่ประกอบจาก の・る【乗る】ขึ้น+き・る【切る】ตัด
ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายดังนี้
การนั่งไปจนถึงที่หมาย
เช่น「ヨットで大西洋を乗り切る」

การผ่านพ้นอุปสรรค์หรือปัญหาต่างๆ
เช่น「難局を乗り切る」

การได้นั่งไปทุกคนโดยไม่เหลือใคร
 เช่น「全員バスに乗り切るのを待つ」

3.おし‐か・ける【押し掛ける】เป็น複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่1 คือ คำกริยาประสมที่เกี่ยวข้องกับアスペクトเป็นคำที่ประกอบจาก おす【押す】กด+かける【掛ける】เกี่ยว
ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายว่า
ไม่ได้เชิญมาแต่ดันมาเอง
เช่น「祝い客が押し掛ける」

การที่หลายๆคนมารวมหรือรุมล้อมอยู่ที่จุดๆเดียว
เช่น「特売場に客が押し掛ける」


การตามไล่ล่า
เช่น「それに乗りて押し掛けたらんは、誰か手向かへはすべき」

くり‐かえ・す【繰り返す】.เป็น複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่4 คือ คำกริยาประสมอื่นๆ
เป็นคำที่ประกอบจาก くり【繰り】พัน+かえ・す【返す】กลับ(ด้าน)
ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายดังนี้
การทำสิ่งที่ทำไปแล้วซ้ำอีกครั้งหรือการทำซ้ำซาก
เช่น「失敗を繰り返す」

การพลิกหน้าหนังสือกลับไปกลับมา
เช่น「戸棚から暦を出して繰り返して見ると」

เรื่องการเมืองแม่ไก่ขอยุติไว้เท่านี้นะกะต๊ากกกก

Thursday, January 16, 2014

Day10(2.26gm) : 「~込む」の複合動詞

コッケコッコ―!!皆さん、おはようございます!!



เช้านี้แม่ไก่ทานขนมปังลูกเกดตามภาพเลยนะกะต๊ากก ก่อนทานก็เหลือบไปเห็น複合動詞เช่นเคย ฮ่าๆๆๆๆ รู้สึกว่าตั้งแต่เริ่มมีบล็อก โดยเฉพาะเริ่มลงภาคสนามนี่ตาเป็นสัปปะรดเลย โอเคเข้าเรื่องๆ ก็จากฉลากบนขนมปังนี้ก็มีประโยคว่า「小麦の風味豊かな生地に甘みのあるレーズンを混ぜ込んだフランスパン。」ดังนั้น複合動詞ที่เจอก็คือคำว่า混ぜ込むนั่นเอง

ま・ぜ‐こ・む 【混ぜ込む】เป็น複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่4 คือ คำกริยาประสมอื่นๆ
เป็นคำที่ประกอบจากま・ぜる【混ぜる】ผสม+こむ【込む】  เข้าไป
ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายว่า การผสมเข้าไป มักใช้กับการทำอาหาร
เช่น「炊き立てのご飯に生卵を混ぜ込むと美味しいですよ。」

ไหนๆก็พูดถึงคำที่มี「込む」แล้ว ครั้งนี้แม่ไก่เลยขอพูดประเด็นที่เคยค้างไว้ด้วยนะกะต๊ากกก นั้นคือคำว่า「引き込む」 กับ「巻き込む」 นั้นมีความหมายที่เหมือนกันโดยมีความหมายว่าดึงเข้าไปข้างใน  แล้วเราจะมาดูกันว่าจะแยกใช้ให้ถูกต้องต้องทำอย่างไร โดยที่แม่ไก่อธิบายวิธีใช้ที่แตกต่างกันของ2คำดังกล่าว พร้อมคำที่ใกล้เคียงอีก2คำ และยกตัวอย่างให้เห็นชัดเจนนะกุ๊กๆ

「引き入れる」ใช้กับความหมายว่า การลากคนหรือสิ่งของเข้าไปข้างใน หรือหมายถึงการเพิ่มสมาชิกในกลุ่ม
เช่น 客を部屋の中へ引き入れて接待した。
  友達をサークルに引き入れた。

「引き込む」นั้นมีความหมายคล้ายคลึงกับ「引き入れる」นั่นคือการลากเข้าไปข้างใน แต่มีความแตกต่างกันเล็กน้อยคือ 引き込むจะมีความหนักแน่นมากกว่า
เช่น田に水を引き込む。
      仲間を悪の道に引き込む。

「抱き込む」ถ้าในความหมายตรงๆจะหมายถึงการโอบกอดไว้ แต่โดยทั่วไปจะใช้ในความหมาย การเชิญชวนคนอื่นไปที่ใดที่หนึ่งพร้อมกัน  การให้คนมาอยู่กับเราหรือเข้าข้างเรา
เช่น 金で政治家を抱き込む。

「巻き込む」หมายถึงการม้วนหรือลากเข้าไปข้างใน  โดยในกรณีที่เป็นเครื่องจักรหรือ พายุจะหมายถึงการที่ร่างกายของเราเข้าไปอยู่หรือติดกับสิ่งนั้นๆจริงๆ  แต่ ในกรณีของคดี การต่อสู้หรือการทะเลาะวิวาทจะไม่ได้หมายถึงการที่ร่างกายเข้าไปเกี่ยวพัน แต่หมายถึงการที่เราเข้าไปพัวพันด้วย ซึ่งส่วนใหญ่คำว่า巻き込むนี้จะถูกใช้ในความหมายแง่ลบ
เช่น 機械に指を巻き込まれる。
      子供を夫婦げんかに巻き込む。

เป็นยังไงบ้างกุ๊ก พอจะเริ่มเข้าใจการใช้แต่ละคำแล้วนะกุ๊กกก


タスク5 :個人レッスンをお願いするメールの複合動詞

หลังจากที่แม่ไก่หายไปเที่ยวมาหลายวัน แม่ไก่ก็กลับตัวกลับใจต้องเริ่มทำงานทั้งหลายพร้อมทั้งอัพบล็อกที่ค้างไว้ด้วยสินะ

จากการที่เขียนเมลไปในタスクที่ผ่านมาทำให้แม่ไก่ใช้複合動詞ไป2คำคือคำว่า「書き上げる」กับ「申し上げる」นะกะต๊ากก

か・き‐あ・げる 【書き上げる】เป็น複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่4 คือ คำกริยาประสมอื่นๆ
เป็นคำที่ประกอบจากか・く【書く】เขียน+あ・がる【上がる】  ขึ้น
ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายดังนี้

     การเขียนให้เสร็จสมบูรณ์
เช่น「論文を書き上げる」
     การเขียนไปทีละส่วน หรือการเขียนขึ้นมา
เช่น「注意事項をもれなく書き上げる」


もう・し‐あ・げる 【申し上げる】เป็น複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่4 คือ คำกริยาประสมอื่นๆ
เป็นคำที่ประกอบจากもう・す【申す】พูด+あ・がる【上がる】  ขึ้น
ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายว่า พูด ซึ่งเป็นภาษายกย่อง ในที่นี้ผู้ที่ต่ำกว่าใช้กับผู้ที่สูงกว่า
เช่น「暑中お見舞い申し上げます」



คืนนี้แม่ไก่ไปนอนก่อนนะกะต๊ากกกก พรุ่งนี้จะอัพมากกว่านี้แน่นอนนน

Monday, January 13, 2014

タスク5 :個人レッスンをお願いするメール



กุ๊กๆๆๆเช้านี้แม่ไก่ขอทักทายด้วยขนมปังที่เมื่อวานไปซื้อมาแถวๆย่านNAMBAนะกะต๊ากก เป็นขนมปังแม่ไก่และลูกเจี๊ยบ ที่นี้เรามาเข้าเรื่องกันเลยดีกว่า タスクนี้อาจารย์ให้เขียนเมลเพื่อที่จะสอบถามรายละเอียดในกานสมัครเรียนกีต้า โจทย์มีอยู่ว่า あなたの趣味はフラメンコギターです。もう5年ほどレッスンを受けていて、将来はフラメンコ舞踊の伴奏者として仕事をしたいと思っています。あるとき、尊敬している有名なギタリスト、山内修二のホームページを見ると、「個人レッスンを引き受ける」と書いてありました。「詳しいことはメールか電話で問い合わせを」ということだったので、山内修二さんにメールを送って問い合わせてください。นะกะต๊ากกก

ความรู้สึกตอนที่จะเขียนงานครั้งที่1 และปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างเขียน

·         ไม่รู้ว่าควรจะเขียนชื่อเต็มของคุณ山内修二ดีหรือไม่
·         คิดว่าถ้าเขียนเท้าเรื่องที่เป็นแฟนคลับเขาอาจจะดี
·         พยายามเขียนให้ถ่อมความสามารถทางกีต้าของตัวเอง
·         คิดไม่ออกว่าควรถามรายละเอียดเรื่องอะไรดี
·         ไม่รู้ว่าควรจะลงท้ายเมลว่าอย่างไรดี
·         ไม่มั่นใจตำแหน่งที่เขียนชื่อของเขาและเรา

ซึ่งการเขียนครั้งที่1จึงออกมาดังข้างล่างนี้

                山内修二様

                                はじめまして、私の名前はパッチャラダーと申します。実は、フラメンコギターの個人レッスンの件でこのメールを書き上げました。私の父は、長年山内さんのファンなので、私は幼いころから山内さんが作曲してきた曲を耳にしてきました。そして、それをきっかけに私は5年前から地域の音楽学校に通い、いつか山内さんみたいなギタリストになりたいと目指してきました。大学を卒業した今、私は父と相談し、本格的に将来はフラメンコ舞踊の伴奏者の道へと進むことにしました。そのため、この不足な能力をいかすためなは、山内さんのような専門家の下につくのがもっともよい選択肢だと我々は考え、山内さんのホームページを聞いてみました。詳しいことについて聞きたいのですが、レッスンは、毎日受けられますでしょうか。期間は、山内さんじたいでよろしくお願いします。ちなみに授業料はいくらぐらいかかるのでしょうか。山内さんとのレッスンを心待ちしております。
                       パッチャラダー ネットプラプライ

หลังจากที่เขียนครั้งแรกไปแล้วสัก2อาทิตย์ อาจารย์ได้แจกคืนมาพร้อมทั้งให้ลองอ่านงานของเพื่อนโดยที่คิดว่าตัวเองเป็นคุณ山内修二และให้เขียนคอมเม้นต์เพื่อนค่ะ แม่ไก่ก็ได้คอมเม้นต์มาตามนี้น๊า

山内修二様
                                はじめまして、私の名前はパッチャラダーと申します。実は、フラメンコギターの個人レッスンの件でこのメールを書き上げました。私の父は、長年山内さんのファンなので、私は幼いころから山内さんが作曲してきた曲を耳にしてきました。そして、それをきっかけに私は年前から地域の音楽学校に通い、いつか山内さんみたいなギタリストになりたいと目指してきました。大学を卒業した今、私は父と相談し、本格的に将来はフラメンコ舞踊の伴奏者の道へと進むことにしました。そのため、この不足な能力をいかすためには、山内さんのような専門家の下につくのがもっともよい選択肢だと我々は考え、山内さんのホームページを聞いてみました。詳しいことについて聞きたいのですが、レッスンは、毎日受けられますでしょうか。期間は、山内さんじたいでよろしくお願いします。ちなみに授業料はいくらぐらいかかるのでしょうか。山内さんとのレッスンを心待ちしております       
                       パッチャラダー ネットプラプライ

·        - คิดว่าการใช้はじめましてเป็นเรื่องที่ดี เพราะเพิ่งรู้จักครั้งแรก น่านำไปใช้บ้าง
·         -มีการพูดถึงbackgroundว่าตัวเองรู้จักกับคุณ山内ได้อย่างไร โดยเฉพาะตรง私の父は長年山内さんのファンなので、...น่าสนใจดี
·         -คิดว่าดีตรงการใช้ส่วนชยายこの不足な能力ทำให้รู้สึกถึงการถ่อมตัว
·         -สำนวน~ますでしょうかเคยพบเหมือนกัน แต่คิดว่าน่าจะใช้~るでしょうかน่าจะฟังดูดีกว่าและดูไม่ปนกัน
·        - เปลี่ยนคำที่เขียนผิดじたい→しだい、進む→進める(?
·         -お願いしますเปลี่ยนเป็นお願いいたしますจะพึ่งดูสุภาพเท่ากันทั้งเรื่อง
·         -ตอนลงท้ายจดหมายคิดว่าถ้าจบด้วยสำนวนทำนองよろしくお願いしますอะไรแบบนี้ จะฟังดูดี เพราะเรากำลังขอให้เขาทำอะไรสักอย่างให้ ไม่รู้สิ55+

หลังจากคอมเม้นต์เพื่อนกันเสร็จ อาจารย์ก็ให้คำแนะนำโดยดูจากข้อผิดพลาดของทุกๆคนดังนี้กะต๊ากก
·         形式
1)      คนที่สูงกว่าเราจะไม่ใช้
さん รู้จักระดังนึง
        คนไม่รู้จัก หรือคนที่สูงกว่า
先生 ถ้าเขามีตำแหน่งใส่แบบนี้จะดีกว่า

2)      ไม่ควรใส่より เพราะกับよりคู่กัน

3)      拝啓―敬具เป็นการเขียนจดหมายมากกว่า

4)      こんにちは  ไม่ควรเพราะใช้กับคนสนิท
はじめまして ใช้ได้
แต่ถ้าคนที่ส่งให้คนที่มีชื่อเสียงใช้แบบนี้ดีกว่าคือ
突然メールを差し上げる~~と申します。
突然メールを差し上げる失礼をお許しください。
突然メールをお送りする失礼をお許しください。

5)      「どうぞよろしくお願いいたします。」ใช้ได้  แต่「ありがとうございます。」ในภาษาญี่ปุ่นเป็นการมัดมือชก เพราะถือว่าเป็นการตกลงอยู่ฝ่ายเดียว

6)      改行
เท้าความ
依頼
สรุป

7)      自己紹介
私は、~~です。(กรณีที่รู้จักใช้「~です」ถ้าเข้าไม่รู้จักใช้「と言います」「と申します」จะดีกว่า สุภาพกว่า

8)      内容
- ไม่ต้องบอกข้อมูลส่วนเกิน เช่นเล่าเรื่องตัวเองที่เขาไม่อยากรู้
-น่าจะใส่รายละเอียดที่เขาอยากรู้
-สามารถเรียนได้แค่ให้เขียนกริยาของเรา 10時に~でお待ちしております。


จากนั้นอาจารย์ก็แจกฉบับที่คนญี่ปุ่นเขียนโดยที่มีทั้งตัวอย่างที่ดูห้วนและตัวอย่างที่ดีทำให้คิดที่จะประยุกต์เขียนงานครั้งที่2ดังนี้

ความรู้สึกตอนที่จะเขียนงานครั้งที่ และปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างเขียน

·         พยายามเขียนโดยใช้คำสุภาพมากขึ้นและถ่อมตนกว่าเดิม
·         พยายามบอกว่าเราต้องการอะไรในการที่จะไปเรียน
·         บอกรายละเอียดกีต้าที่เคยเรียนมา ทั้งระยะเวลา ทั้งชื่อโรงเรียน

ซึ่งการเขียนครั้งที่2จึงออกมาดังข้างล่างนี้

山内先生

突然メールを差し上げる失礼をお許し下さい。私は、パッチャラダーと申します。実は、先生のホームページを拝見して、ぜひ先生のご指導を仰ぎたいと思い、このメールを送らせていただきました。
私は、5年ほど前からフラメンコギターに興味を持ち、泉大津フラメンコギター教室で毎週3時間の個人レッスンを受けてきました。そして、将来はフラメンコ舞踊の伴奏者として活躍したいと思っております。その上で、フラメンコギターの検定を受けたいとも思っておりますが、私は大学に通っているので大変勝手なことを申し上げますが、平日の5時以降もしくは、土日しかレッスンを受けることができません。先生のご都合などをお聞かせ頂ければ、幸いと存じます。日時を指定していただければ、先生のところにご相談に伺わせていただきます
お返事は、急ぎませんが心からお待ち申し上げています
どうぞよろしくお願いいたします

パッチヤラダー ネットプラプライ


โอ้วเที่ยงพ่อดีเลย แม่ไก่ขอตัวไปทานข้างเที่ยงก่อนนะกะต๊ากกก แล้วว้จะมาต่อเรื่อง複合動詞ที่เจอจากการเขียนเมลนี้นะกุ๊กๆๆ