Tuesday, December 31, 2013

Day8(1.15gm) : 「体験したことを文章にする」+ 複合動詞

ในหัวข้อนี้อยากจะอัพเกี่ยวกับเรื่องที่เขียนในวิชาJap writing3นะกะต๊ากกกก

สิ่งที่จะนำเสนอเป็นการเขียนเกี่ยวกับประสบการณ์ของตัวเองนะกะต๊าก ซึ่งอาจารย์ให้หัวข้อมาว่า「体験したことを文章にする」อาจารย์ก็ให้เขียนทั้งหมด3เรื่องโดยให้เลือกจาก6เรื่องคือ驚いた話、面白くて笑った話、嬉しかった話、悲しかった話、恥ずかしかった話、腹が立った話นะกะต๊าก แม่ไก่จึงเลือกที่จะเขียนเรื่อง驚いた話、面白くて笑った話、嬉しかった話 โดยคืนนี้แม่ไก่ขอนำเสนอเรื่องแรกก่อนคือ驚いた話นะกะต๊ากก อาจารย์ให้เวลาเขียนในคาบ3ชม.แล้วก็แต่ละเรื่องให้เขียนภายใน400คำจ้า

เขียนครั้งที่1


อันนี้คือต้นฉบับที่เขียนนะกะต๊ากกก





ด้วยความที่ลายมือแม่ไก่อ่านยาก แม่ไก่จะพิมพ์ลงให้ใหม่น๊ากะต๊ากกก

ชื่อเรื่องคือ オスの針ねずみに赤ちゃんができた

 いつものように大学から帰ると、私はすぐに針ねずみを飼っている場所に行った。餌をやろうと箱の蓋を開けると箱の底に敷いてた新聞紙に真赤な血がついていて、とても驚いた。最初は、針ねずみが噛み合いをしたと思ったが、何処かから「ピーピー」と赤ちゃんの鳴き声が聞こえて、更に驚いた。なぜなら、その箱にはオス同士の兄弟を2匹入れていたはずだからだ。気になった私は、針ねずみの性をもう一度確かめようと針ねずみを上向けにした。すると、2ヶ月前にオスと思った針ねずみは、出産直後のおっぱいが大きいお母さん針ねずみだった。そして、敷き物を変えようとした時、もう1匹の親針ねずみに噛みつかれて、またまた驚いた。
 針ねずみの性を間違いなく分けたのに、赤ちゃんが4匹も生まれて、とてもショックだった。3日後1匹の赤ちゃんが消えた。恐らく親に食べられたのだろう。

หลังจากที่เขียนรอบแรกจบไป อีกสัปดาห์นึงอาจารย์ก็ให้เพื่อนๆผลัดกันตรวจและแก้ของเพื่อนพร้อมคอมเม้นเพื่อนนะกะต๊ากกกก
ก็มีคอมเม้นจากเพื่อนๆดังนี้น๊า

-内容は「驚いた体験」というよりも「面白かった体験」と言った方がいいと私はおもいます。
-内容の最後に書いた「親に食べられた」という文は本当に驚きました。
-おもしろいと思います。全体的にはよかったと思いますが、小さな間違いだけがあります。「てた」とか「まかな」とかを確認してほしいと思います。

พอคอมเม้นกันเสร็จก็ให้เขียนแก้ต่อเลยจ้า

เขียนครั้งที่2
ชื่อเรื่องคือ オスの針ねずみに赤ちゃんができた
 いつものように大学から帰ると、私はすぐに針ねずみを飼っている場所に行った。餌をやろうと箱の蓋を開けると箱の底に敷いてた新聞紙に真赤な血がついていて、とても驚いた。最初は、針ねずみが噛み合いをしたと思ったが、何処かから「ピーピー」と赤ちゃんの鳴き声が聞こえて、更に驚いた。なぜなら、その箱にはオス同士の兄弟を匹入れていたはずだからだ。気になった私は、針ねずみの性をもう一度確かめようと針ねずみを上向けにした。すると、ヶ月前にオスと思った針ねずみは、出産直後のおっぱいが大きいお母さん針ねずみだった。そして、敷き物を変えようとした時、もう匹の親針ねずみに噛みつかれて、またまた驚いた。
 針ねずみの性を間違いなく分けたのに、赤ちゃんが匹も生まれて、とてもショックだった。日後匹の赤ちゃんが消えた。恐らく親に食べられたのだろう。

จากนั้นอาจารย์ก็เก็บไปตรวจและกลับมาแดงเลย

อันนี้คือต้นฉบับที่เขียนนะกะต๊ากกก

                                 
ชื่อเรื่องคือ オスの針ねずみに赤ちゃんができた
 いつものように大学から帰ると、私はすぐに針ねずみを飼っている場所に行った。 向かった餌をやろうと箱の蓋を開けると箱の底に敷いてた新聞紙に真赤な血がついていて、とても驚いた。最初は、針ねずみが噛み合いをしたと思ったが、何処かから「ピーピー」と赤ちゃんの鳴き声が聞こえてきたので、更に驚いた。なぜなら、その箱にはオス同士の兄弟を匹入れていたはずだからだ。気になった私は気になり、針ねずみの性をもう一度確かめようと針ねずみを上向けにした。すると、ヶ月前オスと思っていた針ねずみ、出産直後のおっぱいが大きいお母さん針ねずみだったのだ。そして、敷き物を変えようとした時、もう匹の親針ねずみに噛みつかれて、またまた驚いた。
 針ねずみの性を間違いなく分けたと思っていたのに、赤ちゃんが匹も生まれて、とてもショックだった。日後匹の赤ちゃんが消えた。恐らく親に食べられたのだろう。
การเขียนครั้งนี้ทำให้รู้ว่าตัวเองยังมีจุดบกพร่องในเรื่องการตกลงคำหรือการลงท้ายคำที่ไม่ควรผิดพลาดเลย แต่จะพยายามพัฒนาการเขียนต่อไปเรื่อยๆนะกะต๊ากกกก

ส่วน複合動詞ที่ใช้ในการเขียนเรื่องนี้คือคำว่า 噛み合いนะกะต๊ากกก

かみ‐あい【噛み合い】複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่4 คือ คำกริยาประสมอื่นๆ
           เป็นคำที่ประกอบจาก かむ【噛む】กัด+あう【合う】เข้าหากัน

ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายว่า

กัดฝ่ายตรงข้ามที่เป็นศัตรู เช่น 「犬が噛み合いをしている」

การที่กัดแล้วพอดี รู้สึกโอเค เช่น「この料理はちょうどいい噛み合いに煮ている」



เย่ๆๆๆๆๆในที่สุดแม่ไก่ก็เขียนจบตามเป้าหมายที่คิดไว้แล้ว อิอิ หลังจากปีใหม่แม่ไก่จะไม่ไปไก่พอกหางหมูอีกแล้วนะกะต๊ากกกกกก วันนี้พอแค่นี้ก่อน ราตรีสวัสดิคืนวันที่ปีใหม่ค่า


..............................

柏さんからアドバイスをもらったので修正したいと思います。
アドバイスは、この通りです。
① まっか ⇒ 「真赤」も「真っ赤」も使いますが、「真っ赤」と書くことが多いようです。

② 2ヶ月前はオスだと思っていた針ねずみが、出産直後のおっぱいが大きいお母さん針ねずみだったのだ。
 ⇒ お母さんになったのは直前ですよね。でも2か月前にも多分メスだったんですよね。あるいは性別が変わった??もう少し表現を工夫できたらいいなと思います。

③ 新しい段落で書き始めるとき、日本語の文章ではスペースキーを1度だけ押して、1字分だけのスペースを空けます。タイ語のように長いスペースは取りません。

เขียนครั้งที่3

オスの針ねずみに赤ちゃんができた   
                                   いつものように大学から帰ると、私はすぐに針ねずみを飼っている場所に向かった。餌をやろうと箱の蓋を開けると箱の底に敷いてた新聞紙に真っ赤な血がついていて、とても驚いた。最初は、針ねずみが噛み合いをしたと思ったが、何処かから「ピーピー」と赤ちゃんの鳴き声が聞こえてきたので、更に驚いた。なぜなら、その箱にはオス同士の兄弟を2匹入れていたはずだからだ。私は気になり、針ねずみの性をもう一度確かめようと針ねずみを上向けにした。すると、2ヶ月前はおっぱいが見えなかったのでオスだと思い込んでいた針ねずみが、今は出産直後のおっぱいが大きいお母さん針ねずみだったのだ。そして、敷き物を変えようとした時、もう1匹の親針ねずみに噛みつかれて、またまた驚いた。                                  針ねずみの性を間違いなく分けたと思っていたのに、赤ちゃんが4匹も生まれて、とてもショックだった。3日後1匹の赤ちゃんが消えた。恐らく親に食べられたのだろう。

แม่ไก่ลองแก้อีกรอบแล้วนะง๊าบบบบ พร้อมกับแนบรูปในเหตุการณ์มาด้วยกะต๊ากกกกกก




Day7(0.57gm) : 「逃げることは、ほんとにひきょうか」からの複合動詞

แม่ไก่กลับมาจากปาร์ตี้แล้ว อิอิ มาคุยกันต่อดีกว่า เอ๊ แม่ไก่จะอัพเรื่องอะไรต่อดีน๊า
อัพ複合動詞ที่ไฮไลท์ค้างๆไว้ให้หมดดีกว่าเน๊อะ งั้นเรามาลุยต่อในชีท「逃げることは、ほんとにひきょうか」ซึ่งเป็นเอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาJap reading2กันต่อเลยนะกะต๊ากกกก
複合動詞ที่เจอมีดังนี้น๊า 飛び出す、考えてみる、のぞいてみる、向かい合う、教え込む、逃げ出す、押さえつける、流れ着く、振る舞う โอ้วทำไมมีเยอะจังเลย

1.とびだす【飛び出す】เป็น複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่5 คือ คำกริยาเรียง(Serial Verb)
เป็นคำที่ประกอบจากとぶ【飛ぶ】บิน +だす【出す】ออก

ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายว่า

การเริ่มบิน เช่น 「涼しくなって赤トンボが飛び出した」

จู่ๆก็บินออกไปข้างนอกด้วยความเร็วสูง เช่น「子供が道に飛び出す」

การเคลื่อนไปข้างหน้าอย่างรวดเร็ว เช่น「スタート直後から飛び出す」

การรีบเร่งไปยังที่ที่หนึ่ง เช่น「学校に遅れそうになってあわてて家を飛び出す」
               
2.かんがえてみる【考えてみる】เป็น複合動詞แบบテ形類[v(คำขยาย)+V.] ประเภทที่3 คือคำกริยาประสมอื่นๆ
เป็นคำที่ประกอบจากかんがえる【考える】คิด+みる【みる】ดู
ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายว่า ลองคิดดู
เช่น 「決心する前に、よく考えてみたらいい」

                3.のぞいてみる【除いてみる】เป็น複合動詞แบบテ形類[v(คำขยาย)+V.] ประเภทที่3 คือคำกริยาประสมอื่นๆ
เป็นคำที่ประกอบจากのぞく【除く】ส่อง+みる【みる】ดู

ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายว่า ลองส่องดู

เช่น 「心の底を除いてみる」

                4.むかい‐あ・う【向かい合う】เป็น複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่4 คือ คำกริยาประสมอื่นๆ
        เป็นคำที่ประกอบจาก むく【向く】หัน+あう【合う】เข้าหา

ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายว่า การหันหน้าเข้าหากัน

เช่น「テーブルを挟んで向かい合う」

                5.おしえ‐こ・む【教え込む】เป็น複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่4 คือ คำกริยาประสมอื่นๆ
           เป็นคำที่ประกอบจาก おしえる【教える】สอน+こむ【込む】แน่น

ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายว่า สอนอย่างเต็มที่ เช่น「イヌに芸を教え込む」

                6.にげ‐だ・す【逃げ出す】เป็น複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่1 คือ คำกริยาประสมที่เกี่ยวข้องกับアスペクトซึ่งเป็นคำกริยาผสมที่แสดงขั้นตอนของกริยาประกอบ 

           เป็นคำที่ประกอบจาก にげる【逃げる】หนี+だす【出す】ออก

ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายว่า

การหนีออกจากที่ที่ตนกำลังอยู่ เช่น「逃げ出したい気分」

เริ่มหนีออกไป เช่น 「敗色濃厚になって兵が逃げ出す」

                7.おさえ‐つ・ける【押さえ付ける】เป็น複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่4 คือ คำกริยาประสมอื่นๆ
           เป็นคำที่ประกอบจาก おさえる【押さえる】กด+つける【付ける】ติด

ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายว่า

จับไว้แน่นจนไม่ให้เขาขยับตัวได้ เช่น「首ねっこを押さえ付ける」

การกดดันอีกฝ่ายให้เห็นด้วยกับเรา เช่น 「少数意見を押さえ付ける」

การอดกลั้นที่จะแสดงความรู้สึกออกมา เช่น「怒りを押さえ付ける」

                8.ながれ‐つ・く【流れ着くเป็น複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่4 คือ คำกริยาประสมอื่นๆ
           เป็นคำที่ประกอบจาก ながれる【流れる】ไหล+つく【着く】ถึง

ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายว่า การไหลไปจนติดอยู่ที่ที่หนึ่ง เช่น 「離れ小島に独りで流れ着いた」

9.ふる‐ま・う【振る舞う】เป็น複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่4 คือ คำกริยาประสมอื่นๆ
           เป็นคำที่ประกอบจาก ふる【振る】สั่น+まう【舞う】เต้น

ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายว่า

การเคลื่อนไหว เช่น「なれなれしく振る舞う」

การเลี้ยงข้าวคน เช่น「酒を振る舞う」



ฮู้ว 複合動詞ทั้ง9คำที่เจอในบทนี้ก็จบลงแล้วนะกะต๊ากกกก บางคำนี่ก็พึ่งรู้ความหมายนะเนี่ย ฮ่าๆๆๆๆๆ