งานชิ้นนี้เป็นงานของวิชาjap reading2
โดยที่กำลังเรียนหัวข้อเกี่ยวกับいじめอยู่นะกะต๊ากกก
อาจารย์ก็แบ่งกลุ่มแล้วให้แต่ละกลุ่มไปอ่านแล้ววิเคราะห์มาอะไรประมาณนี้เน๊อะ
ซึ่งแม่ไก่ก็จะมาขอนำเสนอ複合動詞ที่แม่ไก่อ่านเจอในบทความนี้ซึ่งมี2คำ
ด้วยกันคือ引き換えและあざ笑う
1.ひき‐か・える【引き換える】เป็น複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่4 คือ
คำกริยาประสมอื่นๆ
เป็นคำที่ประกอบจาก ひく【引く】ดึง+かえる【換える】เปลี่ยน
ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายว่า
1การแลกเปลี่ยนสิ่งของหรืออะไรบางอย่าง
เช่น「当たりくじを景品と引き換える」
2 แสดงความตรงกันข้าม
เช่น「昨日に引き換えて、今日は寒い」
2.あざ‐わら・う【嘲笑う】เป็น複合動詞แบบ連用形類ประเภทที่4 คือ
คำกริยาประสมอื่นๆ
เป็นคำที่ประกอบจาก あざけ・る【嘲る】การดูถูก+わら・う【笑う】หัวเราะ
ซึ่งพอเป็น複合動詞มีความหมายว่า
1การหัวเราะอย่างดูถูก เช่น「人の失敗を嘲笑う」
2การหัวเราะเสียงดัง
เช่น「翁二人見かはして嘲笑ふ」〈大鏡・序〉
นอกจาก嘲笑うแล้วยังมีคำ複合動詞และคำศัพท์ที่แสดงการดูถูกหรือดูหมิ่นอีกมากมาย เรามาดูกันเลย
ที่เราพบบ่อยๆก็น่าจะไม่พ้น2คำนี้คือ
1み‐くだ・す【見下す】เช่น「人を見下した態度」
2み‐さ・げる【見下げる】เช่น「見下げた口のきき方をする」
ส่วนคำอื่นๆที่ไม่ค่อยคุ้นเราก็มาดูๆกันเป็นความรู้เน๊อะ
3み‐くび・る【見縊る】เช่น「ずいぶん人を見縊ったやり方だ」
4いやし・める【卑しめる】เช่น「自分自身を卑しめる行い」
5あなど・る【侮る】เช่น「侮りがたい敵」
6おとし・める【貶める】เช่น「人を貶めるような言い方をする」
โห่ไม่น่าเชื่อว่าความหมายเดียวกันมีตั้งหลายรูปแบบ
คืนนี้แม่ไก่ก็ง่วงมาแล้วขอตัวไปนอนก่อนนะกะต๊ากกกก
มี 複合動詞 เยอะมากจริงๆ
ReplyDeleteคิดว่าถ้ามีประโยคตัวอย่างว่าแต่ละคำใช้แตกต่างกันอย่างไรอาจจะเข้าใจได้ง่ายขึ้นนะ :))